รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ

รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ

ประวัติรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

e-mail : watanap@nu.ac.th

วุฒิการศึกษา

ปริญญาเอก
Ph.D. English (Rhetoric & Linguistics) Indiana University of Pennsylvania
 
ปริญญาโท
ศศ.ม. ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยมหิดล
 
ปริญญาตรี
อ.บ. ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร.บ. (เกียรตินิยม) (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
น.บ. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประวัติการทำงาน

ปีตำแหน่งทางวิชาการสถาบันจังหวัด
21 ส.ค. 49 – ปัจจุบันรองศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
2546 – 20 ส.ค. 49ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
17 ส.ค. 2543 – 2546ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
2536 – 2543อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
2534 – 2536อาจารย์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยกรุงเทพ

ประสบการณ์การบริหาร

ประวัติการบริหาร

26 ก.ค. 58 – 25 ส.ค. 62                    คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

23 มิ.ย. 56 – 28 ก.ค. 58                    ผู้อำนวยการวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร

20 ม.ค. 56 – 22 มิ.ย. 56                    รักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร

1 ต.ค. 2550 – 23 ก.ค. 2554               รองคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพ คณะมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร

20 ม.ค. 2547 –  30 ก.ย. 2550            รองคณบดีฝ่ายวิจัยและแผน คณะมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร

1 ต.ค. 2546 – 19 ม.ค. 2547               รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร

รักษาการหัวหน้าสาขาภาษาจีนและสาขาภาษาเกาหลี

1 เม.ย. 2545 – 30 ก.ย. 2546              รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. นเรศวร

30 ก.ค. 2544 – 31 มี.ค. 2545             รองหัวหน้าภาควิชาภาษา

14 ก.ย. 2543 – 31 ธ.ค. 2544              หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

20 เม.ย. 2537 – 31 ต.ค. 2538            รองหัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันตก

ผลงานทางวิชาการ

Research, academic papers, course books, and other academic works

Syananondh, K., Ingkhaninan,S., & Padgate, W. Lexical and syntactical analysis : An implication for the teaching of reading and writing dissertation abstracts. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.2(1). มกราคม-มิถุนายน 2537. หน้า 23-61.

Padgate, W. and Syananondh, K. Learner-centered methodology concerning communicative language learning and second language acquisition : A survey of higher secondary school EFL teachers’ awareness. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร2(2)  กรกฎาคม-ธันวาคม 2537. หน้า 67-84.

Padgate, W. (1994). Technical English. (เอกสารประกอบการสอน)

เกรียงศักดิ์  สยะนานนท์ และวัฒนา  พัดเกตุ. (2538). การศึกษาความคาดหวังที่มีต่อการจัดการเรียนการและวิทยบริการด้านภาษาอังกฤษของภาควิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยนเรศวรของครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเก้าจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 3 ฉบับที่ 1-2 (กรกฎาคม-ธันวาคม).หน้า 105-120. (ได้รับทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2538)

วัฒนา พัดเกตุ. English for specific purposes และ English for academic purposes กับหลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2544), หน้า 17-26.

Padgate, W. 2001. Feedback on L2 adult learner’s writing. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 31, 44-63.

Syananondh, K., Padgate, W., & Kamhaeng, K. (2547). Ideal M.A. English program instructors in a Thai university: Graduate student perceptions. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (มกราคม –  มิถุนายน), หน้า 75-87.

วัฒนา พัดเกตุ และ เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์. (2548). ความคิดเห็นของผู้เรียนต่อการใช้การเขียนบันทึกโต้ตอบผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการอ่านสรุปความในการเขียนและการพัฒนาภาษาอังกฤษ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), หน้า 109-124.

เกรียงศักดิ์  สยะนานนท์ และวัฒนา  พัดเกตุ. อายุกับการเรียนภาษาอังกฤษ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพอใจหรือไม่พอใจในการเรียนภาษาอังกฤษ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2548), หน้า 8-27.

วัฒนา พัดเกตุ. (2548). การศึกษาเจตคติในการทำวิจัย และปัญหาและอุปสรรคในการทำวิจัยของอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (กันยายน –  ธันวาคม), หน้า 44-57.

Syananondh, K., Padgate, W. (2548). Understanding and facilitating EFL adult learning: An experimental research. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (กันยายน –  ธันวาคม), หน้า 58-75.

Syananondh, K., and Padgate, W. (2005). Teacher intervention during the writing process: An alternative to providing teacher feedback on EFL academic writing in a large class. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 36 (April), 67-87.

Syananondh, K., and Padgate, W. (2006). Proper and improper behaviors/conducts of EFL instructors as perceived by English-majored students. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 38 (April), 69-87.

Syananondh, K., and Padgate, W. (2006). A comparative study of the EFL reading achievement of students in large and small class. Journal of Liberal Arts, 6(1), 42-66.

วัฒนา พัดเกตุ และ เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์. การศึกษาสถานภาพการทำวิจัย ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยและเหตุผลในการทำวิจัย และความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีและสถิติเพื่อการวิจัย ของอาจารย์สอนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยของรัฐ. นำเสนอในการสัมมนาการวิจัยประจำปีของสถาบันภาษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549.

Padgate, W. (2006). Writing. (เอกสารประกอบการเรียนออนไลน์ สำหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)

Padgate, W. (2006). Paragraph Writing. (เอกสารคำสอน)

วัฒนา พัดเกตุ และ เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์. (2551). สถานภาพการทำวิจัยของอาจารย์สอนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยของรัฐ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3, หน้า 69-94.

Padgate, W. (2008). Beliefs and Opinions about EFL Writing of Students at a Thai University. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 42(April), 31-53.

วัฒนา พัดเกตุ. (2552). คำภาษาอังกฤษที่ใช้ในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, หน้า 101-120.

Padgate, W. (2009). Input enhancement and the acquisition of English prepositions. (Paper presented at the 7th Asia TEFL & 29th Thailand TESOL International Conference 2009 at the Imperial Queen’s Park, Bangkok, August 7-9, 2009)

Syananondh, K. & Padgate, W. (2553). Using group self-correction in combination with teacher correction to enhance Thai EFL students’ academic writing skills: A pre-experimental study. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับพิเศษ (มิถุนายน-กันยายน), หน้า 1-12.

(บทแนะนำหนังสือ) Exploring Second Language Classroom Research: A Comprehensive Guide. David Nunan and Kathleen M. Bailey. Boston, MA: Heinle, Cengage Learning, 2009, หน้า vii + 496.  วัฒนา พัดเกตุ. (2553). วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับพิเศษ (มิถุนายน-กันยายน), หน้า 113-116.

Padgate, W. (2553). Input enhancement and the acquisition of English prepositions of Thai Undergraduate Students. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม), หน้า 47-62.

Padgate, W. & Bunyarat, P. (2554). The effect of input enhancement and consciousness-raising on the acquisition of prepositions of Thai high-school students. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม), หน้า 1-21.

Luangpipat, N. & Padgate, W. (2014). The relationship between English learning achievement and perceived self-efficacy of the first-year students at Naresuan University. Paper presented at the 4th International Conference on Foreign Language Teaching and Applied Linguistics (FLTAL), Sarajevo, Bosnia, May 9th, 2014. Published in Journal of Foreign Language Teaching and Applied Linguistics, 2015, 2 (2)

Wilai, P. and Padgate, W. (2017). The effect of teacher indirect feedback and collaborative revision activity on grammatical accuracy of Thai college students’ writing. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน), หน้า 1-10.

Rupsong, S. & Padgate, W. (2017). An Investigation of Perspectives, Practices and Problems Regarding Error Feedback of English Writing Teachers in Public Universities in the North of Thailand. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน), หน้า 381-393.

Thananchai, P. & Padgate, W. (2018). The effect of direct and indirect corrective feedback on grammatical improvement in journal writing of Grade 9 students in a Thai school. Journal of Education and Social Sciences, 11(1), 19-27.

Sunthong, S. and Padgate, W. (2020). A Study of English Vocabulary Learning Strategies of High and Low English Proficiency University Students in Thailand. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า.” 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, หน้า 183-188. สืบค้นจาก https://www.aru.ac.th/arucon/2020/ARUCON2020-Proceedings-Oral.pdf.

Padgate, U. and Padgate, W. (2020). The Metatextuality of Crime Fiction in The Girl with the Dragon Tattoo: A Homage with a Twist to Golden-Age Detective Fiction. Proceedings of ARUCON 2020, 189-193. Retrieved from https://www.aru.ac.th/arucon/2020/ARUCON2020-Proceedings-Oral.pdf.

วัฒนา พัดเกตุ. 2564. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการสอบ Cambridge English Placement Test กับเกรดเฉลี่ยรายวิชาภาษาอังกฤษของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ–วิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 “Moving from Disruption to Resilience: The Dynamics of Humanities and Social Science” วันที่ 15-16 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร (online) หน้า 279-292, สืบค้นจาก http://www.human.nu.ac.th/HUSOC14/25640823nation.pdf

Padgate, U. & Padgate, W. (2021). No More Nice Girl: How “The Girl Who Played with Fire” Spices the Female and Sacrifices the Male. Proceedings of the 14th National and International Humanities and Social Sciences Network Conference under the theme of “Moving from Disruption to Resilience: The Dynamics of Humanities and Social Sciences”, 202-214. Retrieved from http://www.human.nu.ac.th/HUSOC14/25640823inter.pdf

จันทิมา ซิมป์สัน, วัฒนา พัดเกตุ, และ อุษา พัดเกตุ. (2565). การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของชุมชนโฮมสเตย์และผู้ประกอบกิจการผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ตำบลวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 11” วันที่ 25-28 มกราคม พ.ศ. 2565.

รางวัลที่ได้รับหรือผลงานที่โดดเด่นทางวิชาการ และ/หรือ การบริหาร

  • รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านการบริหาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2559

การอบรมที่สำคัญ

  • การอบรมการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการบริหารสำหรับผู้บริหารระดับสูง โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร (29-30 เมษายน 2547)
  • การอบรมหลักสูตรนักบริหารมหาวิทยาลัยระดับสูง (นบม.) รุ่นที่ 11 โดยทบวงมหาวิทยาลัย (เม.ย. – พ.ค. 2546)
  • การอบรมผู้บริหารระดับสูงมหาวิทยาลัยนเรศวร รุ่นที่ 2 (พ.ย. 2545)
  • หลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา หลักสูตรที่ 2 รุ่นที่ 5 ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2-3 สิงหาคม 2550)
  • การอบรมผู้บริหารงานวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร (26-30 พ.ค. 2551)
  • หลักสูตรการบริหารความเสี่ยง Developing an Integrated Approach to Risk Management in Universities (held by Thai-Australian Academic Centre Association during November 14-16, 2009 in Bangkok)
  • การอบรมหลักสูตร ประธานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของ สกอ.
  • หลักสูตรวิทยากรแกนนำประจำเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา (Training for the trainer) – การประกันคุณภาพการศึกษา (8-10 ตุลาคม 2553 โดย สกอ.)
  • การอบรมวิทยากรแกนนำ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดย สกอ. 7-9 ก.พ. 2558
  • การฝึกอบรมผู้ประเมินคุณภาพหลักสูตรเพื่อการเผยแพร่ TQR (24-25 ส.ค. 62 โดย สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สกอ)
  • หลักสูตร AUN-QA Training Course for Accomplishing Programme Assessment 2012 (4-Day Course) held by ASEAN University Network (April 16-19, 2012 in Bangkok), Tier 1
  • หลักสูตร AUN-QA Assessors Training Workshop – Tier 2 (Nov. 8-15, 2013 in Manila, Philippines)
  • หลักสูตร TQA Criteria (held by Office of Thailand Quality Awards during April 3-5, 2112 in Chiangmai)
  • หลักสูตร TQA Internal Organization Assessment (held by Office of Thailand Quality Awards during September 12-14, 2012 in Bangkok)
  • การอบรม “เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ” (โดย สกอ. 7-9 มี.ค. 2559)
  • หลักสูตร การประเมินตนเองด้วยเกณฑ์ EdPEx (Self-Assessment : SA)” (โดย สกอ. 9-11 ส.ค. 2560)
  • การอบรมการเป็นผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษาแนวใหม่ รุ่นที่ 1 ณ โรงแรม เดอะ รอยัล ริเวอร์ กรุงเทพ 24-25 กุมภาพันธ์ 2561 จัดโดย สำนักงานรับรองมาตฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
  • การอบรมแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา สำหรับผู้ประเมินภายนอก รุ่นที่ 1 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 จัดโดย สมศ (ออนไลน์)

การปฏิบัติงานพิเศษ (บางส่วน)

  • ผู้อ่านบทความสำหรับวารสารทางวิชาการต่าง ๆ เช่น วารสาร PASAA วารสารภาษาปริทัศน์ วารสาร English Studies (ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • ประธานคณะกรรมการร่างหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ ม. นเรศวร
  • กรรมการร่างหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ ม. นเรศวร
  • บรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร (1 มกราคม 2550 – 30 มิถุนายน 2552)
  • บรรณาธิการวารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) (28 ตุลาคม – ปัจจุบัน)
  • วิทยากรแกนนำ การอบรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สกอ. เครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง
  • ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สกอ.
  • ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ)
  • ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
  • กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (7 มีนาคม 2557 – 6 มี.ค. 2561)
  • ประธาน ThailandTESOL Lower-Northern Affiliate (พฤษภาคม 2556 – เมษายน 2558)

Loading

ประวัติรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

e-mail : watanap@nu.ac.th

วุฒิการศึกษา

ปริญญาเอก
Ph.D. English (Rhetoric & Linguistics) Indiana University of Pennsylvania
 
ปริญญาโท
ศศ.ม. ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยมหิดล
 
ปริญญาตรี
อ.บ. ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร.บ. (เกียรตินิยม) (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
น.บ. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประวัติการทำงาน

ปีตำแหน่งทางวิชาการสถาบันจังหวัด
21 ส.ค. 49 – ปัจจุบันรองศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
2546 – 20 ส.ค. 49ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
17 ส.ค. 2543 – 2546ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
2536 – 2543อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณุโลก
2534 – 2536อาจารย์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยกรุงเทพ

ประสบการณ์การบริหาร

ประวัติการบริหาร

26 ก.ค. 58 – 25 ส.ค. 62                    คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

23 มิ.ย. 56 – 28 ก.ค. 58                    ผู้อำนวยการวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร

20 ม.ค. 56 – 22 มิ.ย. 56                    รักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร

1 ต.ค. 2550 – 23 ก.ค. 2554               รองคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพ คณะมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร

20 ม.ค. 2547 –  30 ก.ย. 2550            รองคณบดีฝ่ายวิจัยและแผน คณะมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร

1 ต.ค. 2546 – 19 ม.ค. 2547               รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร

รักษาการหัวหน้าสาขาภาษาจีนและสาขาภาษาเกาหลี

1 เม.ย. 2545 – 30 ก.ย. 2546              รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. นเรศวร

30 ก.ค. 2544 – 31 มี.ค. 2545             รองหัวหน้าภาควิชาภาษา

14 ก.ย. 2543 – 31 ธ.ค. 2544              หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

20 เม.ย. 2537 – 31 ต.ค. 2538            รองหัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันตก

ผลงานทางวิชาการ

Research, academic papers, course books, and other academic works

Syananondh, K., Ingkhaninan,S., & Padgate, W. Lexical and syntactical analysis : An implication for the teaching of reading and writing dissertation abstracts. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.2(1). มกราคม-มิถุนายน 2537. หน้า 23-61.

Padgate, W. and Syananondh, K. Learner-centered methodology concerning communicative language learning and second language acquisition : A survey of higher secondary school EFL teachers’ awareness. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร2(2)  กรกฎาคม-ธันวาคม 2537. หน้า 67-84.

Padgate, W. (1994). Technical English. (เอกสารประกอบการสอน)

เกรียงศักดิ์  สยะนานนท์ และวัฒนา  พัดเกตุ. (2538). การศึกษาความคาดหวังที่มีต่อการจัดการเรียนการและวิทยบริการด้านภาษาอังกฤษของภาควิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยนเรศวรของครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเก้าจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 3 ฉบับที่ 1-2 (กรกฎาคม-ธันวาคม).หน้า 105-120. (ได้รับทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2538)

วัฒนา พัดเกตุ. English for specific purposes และ English for academic purposes กับหลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2544), หน้า 17-26.

Padgate, W. 2001. Feedback on L2 adult learner’s writing. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 31, 44-63.

Syananondh, K., Padgate, W., & Kamhaeng, K. (2547). Ideal M.A. English program instructors in a Thai university: Graduate student perceptions. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (มกราคม –  มิถุนายน), หน้า 75-87.

วัฒนา พัดเกตุ และ เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์. (2548). ความคิดเห็นของผู้เรียนต่อการใช้การเขียนบันทึกโต้ตอบผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการอ่านสรุปความในการเขียนและการพัฒนาภาษาอังกฤษ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), หน้า 109-124.

เกรียงศักดิ์  สยะนานนท์ และวัฒนา  พัดเกตุ. อายุกับการเรียนภาษาอังกฤษ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพอใจหรือไม่พอใจในการเรียนภาษาอังกฤษ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2548), หน้า 8-27.

วัฒนา พัดเกตุ. (2548). การศึกษาเจตคติในการทำวิจัย และปัญหาและอุปสรรคในการทำวิจัยของอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (กันยายน –  ธันวาคม), หน้า 44-57.

Syananondh, K., Padgate, W. (2548). Understanding and facilitating EFL adult learning: An experimental research. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (กันยายน –  ธันวาคม), หน้า 58-75.

Syananondh, K., and Padgate, W. (2005). Teacher intervention during the writing process: An alternative to providing teacher feedback on EFL academic writing in a large class. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 36 (April), 67-87.

Syananondh, K., and Padgate, W. (2006). Proper and improper behaviors/conducts of EFL instructors as perceived by English-majored students. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 38 (April), 69-87.

Syananondh, K., and Padgate, W. (2006). A comparative study of the EFL reading achievement of students in large and small class. Journal of Liberal Arts, 6(1), 42-66.

วัฒนา พัดเกตุ และ เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์. การศึกษาสถานภาพการทำวิจัย ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยและเหตุผลในการทำวิจัย และความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีและสถิติเพื่อการวิจัย ของอาจารย์สอนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยของรัฐ. นำเสนอในการสัมมนาการวิจัยประจำปีของสถาบันภาษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549.

Padgate, W. (2006). Writing. (เอกสารประกอบการเรียนออนไลน์ สำหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)

Padgate, W. (2006). Paragraph Writing. (เอกสารคำสอน)

วัฒนา พัดเกตุ และ เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์. (2551). สถานภาพการทำวิจัยของอาจารย์สอนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยของรัฐ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3, หน้า 69-94.

Padgate, W. (2008). Beliefs and Opinions about EFL Writing of Students at a Thai University. PASAA: A Journal of Language Teaching and Learning in Thailand. 42(April), 31-53.

วัฒนา พัดเกตุ. (2552). คำภาษาอังกฤษที่ใช้ในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, หน้า 101-120.

Padgate, W. (2009). Input enhancement and the acquisition of English prepositions. (Paper presented at the 7th Asia TEFL & 29th Thailand TESOL International Conference 2009 at the Imperial Queen’s Park, Bangkok, August 7-9, 2009)

Syananondh, K. & Padgate, W. (2553). Using group self-correction in combination with teacher correction to enhance Thai EFL students’ academic writing skills: A pre-experimental study. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับพิเศษ (มิถุนายน-กันยายน), หน้า 1-12.

(บทแนะนำหนังสือ) Exploring Second Language Classroom Research: A Comprehensive Guide. David Nunan and Kathleen M. Bailey. Boston, MA: Heinle, Cengage Learning, 2009, หน้า vii + 496.  วัฒนา พัดเกตุ. (2553). วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับพิเศษ (มิถุนายน-กันยายน), หน้า 113-116.

Padgate, W. (2553). Input enhancement and the acquisition of English prepositions of Thai Undergraduate Students. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม), หน้า 47-62.

Padgate, W. & Bunyarat, P. (2554). The effect of input enhancement and consciousness-raising on the acquisition of prepositions of Thai high-school students. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม), หน้า 1-21.

Luangpipat, N. & Padgate, W. (2014). The relationship between English learning achievement and perceived self-efficacy of the first-year students at Naresuan University. Paper presented at the 4th International Conference on Foreign Language Teaching and Applied Linguistics (FLTAL), Sarajevo, Bosnia, May 9th, 2014. Published in Journal of Foreign Language Teaching and Applied Linguistics, 2015, 2 (2)

Wilai, P. and Padgate, W. (2017). The effect of teacher indirect feedback and collaborative revision activity on grammatical accuracy of Thai college students’ writing. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน), หน้า 1-10.

Rupsong, S. & Padgate, W. (2017). An Investigation of Perspectives, Practices and Problems Regarding Error Feedback of English Writing Teachers in Public Universities in the North of Thailand. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน), หน้า 381-393.

Thananchai, P. & Padgate, W. (2018). The effect of direct and indirect corrective feedback on grammatical improvement in journal writing of Grade 9 students in a Thai school. Journal of Education and Social Sciences, 11(1), 19-27.

Sunthong, S. and Padgate, W. (2020). A Study of English Vocabulary Learning Strategies of High and Low English Proficiency University Students in Thailand. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า.” 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, หน้า 183-188. สืบค้นจาก https://www.aru.ac.th/arucon/2020/ARUCON2020-Proceedings-Oral.pdf.

Padgate, U. and Padgate, W. (2020). The Metatextuality of Crime Fiction in The Girl with the Dragon Tattoo: A Homage with a Twist to Golden-Age Detective Fiction. Proceedings of ARUCON 2020, 189-193. Retrieved from https://www.aru.ac.th/arucon/2020/ARUCON2020-Proceedings-Oral.pdf.

วัฒนา พัดเกตุ. 2564. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการสอบ Cambridge English Placement Test กับเกรดเฉลี่ยรายวิชาภาษาอังกฤษของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ–วิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 “Moving from Disruption to Resilience: The Dynamics of Humanities and Social Science” วันที่ 15-16 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร (online) หน้า 279-292, สืบค้นจาก http://www.human.nu.ac.th/HUSOC14/25640823nation.pdf

Padgate, U. & Padgate, W. (2021). No More Nice Girl: How “The Girl Who Played with Fire” Spices the Female and Sacrifices the Male. Proceedings of the 14th National and International Humanities and Social Sciences Network Conference under the theme of “Moving from Disruption to Resilience: The Dynamics of Humanities and Social Sciences”, 202-214. Retrieved from http://www.human.nu.ac.th/HUSOC14/25640823inter.pdf

จันทิมา ซิมป์สัน, วัฒนา พัดเกตุ, และ อุษา พัดเกตุ. (2565). การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของชุมชนโฮมสเตย์และผู้ประกอบกิจการผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ตำบลวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 11” วันที่ 25-28 มกราคม พ.ศ. 2565.

รางวัลที่ได้รับหรือผลงานที่โดดเด่นทางวิชาการ และ/หรือ การบริหาร

  • รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านการบริหาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2559

การอบรมที่สำคัญ

  • การอบรมการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการบริหารสำหรับผู้บริหารระดับสูง โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร (29-30 เมษายน 2547)
  • การอบรมหลักสูตรนักบริหารมหาวิทยาลัยระดับสูง (นบม.) รุ่นที่ 11 โดยทบวงมหาวิทยาลัย (เม.ย. – พ.ค. 2546)
  • การอบรมผู้บริหารระดับสูงมหาวิทยาลัยนเรศวร รุ่นที่ 2 (พ.ย. 2545)
  • หลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา หลักสูตรที่ 2 รุ่นที่ 5 ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2-3 สิงหาคม 2550)
  • การอบรมผู้บริหารงานวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร (26-30 พ.ค. 2551)
  • หลักสูตรการบริหารความเสี่ยง Developing an Integrated Approach to Risk Management in Universities (held by Thai-Australian Academic Centre Association during November 14-16, 2009 in Bangkok)
  • การอบรมหลักสูตร ประธานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของ สกอ.
  • หลักสูตรวิทยากรแกนนำประจำเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา (Training for the trainer) – การประกันคุณภาพการศึกษา (8-10 ตุลาคม 2553 โดย สกอ.)
  • การอบรมวิทยากรแกนนำ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดย สกอ. 7-9 ก.พ. 2558
  • การฝึกอบรมผู้ประเมินคุณภาพหลักสูตรเพื่อการเผยแพร่ TQR (24-25 ส.ค. 62 โดย สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สกอ)
  • หลักสูตร AUN-QA Training Course for Accomplishing Programme Assessment 2012 (4-Day Course) held by ASEAN University Network (April 16-19, 2012 in Bangkok), Tier 1
  • หลักสูตร AUN-QA Assessors Training Workshop – Tier 2 (Nov. 8-15, 2013 in Manila, Philippines)
  • หลักสูตร TQA Criteria (held by Office of Thailand Quality Awards during April 3-5, 2112 in Chiangmai)
  • หลักสูตร TQA Internal Organization Assessment (held by Office of Thailand Quality Awards during September 12-14, 2012 in Bangkok)
  • การอบรม “เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ” (โดย สกอ. 7-9 มี.ค. 2559)
  • หลักสูตร การประเมินตนเองด้วยเกณฑ์ EdPEx (Self-Assessment : SA)” (โดย สกอ. 9-11 ส.ค. 2560)
  • การอบรมการเป็นผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษาแนวใหม่ รุ่นที่ 1 ณ โรงแรม เดอะ รอยัล ริเวอร์ กรุงเทพ 24-25 กุมภาพันธ์ 2561 จัดโดย สำนักงานรับรองมาตฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
  • การอบรมแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา สำหรับผู้ประเมินภายนอก รุ่นที่ 1 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 จัดโดย สมศ (ออนไลน์)

การปฏิบัติงานพิเศษ (บางส่วน)

  • ผู้อ่านบทความสำหรับวารสารทางวิชาการต่าง ๆ เช่น วารสาร PASAA วารสารภาษาปริทัศน์ วารสาร English Studies (ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • ประธานคณะกรรมการร่างหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ ม. นเรศวร
  • กรรมการร่างหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ ม. นเรศวร
  • บรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ ม. นเรศวร (1 มกราคม 2550 – 30 มิถุนายน 2552)
  • บรรณาธิการวารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) (28 ตุลาคม – ปัจจุบัน)
  • วิทยากรแกนนำ การอบรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สกอ. เครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง
  • ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สกอ.
  • ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ)
  • ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
  • กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (7 มีนาคม 2557 – 6 มี.ค. 2561)
  • ประธาน ThailandTESOL Lower-Northern Affiliate (พฤษภาคม 2556 – เมษายน 2558)

Loading

Secured By miniOrange